How the telco ecosystem can make a more meaningful, measurable impact on sustainability

ผลกระทบของระบบนิเวศด้านโทรคมนาคม ที่วัดผลได้และมีความหมายต่อความยั่งยืน

How the telco ecosystem can make a more meaningful, measurable impact on sustainability

Article by Rimma Iontel, Chief Architect, Red Hat
Article by Rimma Iontel, Chief Architect, Red Hat

It would be great if we could flip a switch on the networks that currently consume about 3% of the world’s power and emit roughly 2% of the world’s greenhouse gasses to make them more sustainable. And I’m sure any telecommunications service provider would want to reduce their network operating costs by being more energy efficient. But achieving sustainability goals is a complex and layered problem, and one that requires an entire ecosystem to work together to reduce the telecommunication industry’s carbon dioxide footprint. 

Many service providers are looking to advanced data analytics powered by artificial intelligence (AI) to drive better outcomes. However, AI can only be as good as the data we feed it, and collecting enough accurate data in areas like traffic patterns and energy consumption across both traditional, cloud and multi-vendor networks is a challenge still to be solved. There is also the challenge of converting AI recommendations into real time manipulation of the network and associated workflows, by means of massive automation. On top of that, AI itself can be a significant contributor to power consumption so we need to be very deliberate in its use for network power optimization. 

Even today, many sustainability projects are implemented in isolation, focusing on individual network domains or challenges and this approach has shown its limitations. In order to maximize the impact of energy efficient strategies, a more holistic approach is required across network domains by leveraging open platforms that use advanced data analytics, AI and automation. I want to use this post to outline some of the building blocks of a unified approach, highlighting some combined efforts Red Hat is actively working on with our partners.

Open 5G core infrastructure for maximized value and reduced power consumption

Red Hat, NEC and Intel have partnered together to deliver an open 5G core infrastructure that helps reduce the operational expenditure associated with power cost and consumption. Now, NEC can reduce commercial power consumption of NEC converged 5G user plane function (UPF) on Red Hat OpenShift by more than 30% with Intel® Infrastructure Power Manager for 5G Core. With Intel® Infrastructure Power Manager for 5G Core, every processor core has the right power at the right time to keep emissions and costs to a minimum. Learn more about how Red Hat, NEC and Intel are working together to contribute to sustainability and power reduction for 5G networks.

Sustainable call processing and packet continuity with greater power

Last year, we showcased a collaboration between Red Hat and Arm to deliver more energy efficient 5G and vRAN solutions fueled by Red Hat open source technologies and Arm® compute platforms.

More recently, in collaboration with NEC, Arm and Qualcomm Technologies, Inc., we have successfully demonstrated end-to-end operation of NEC’s open virtualized radio access network (vRAN) and 5G core products using Qualcomm® X100 5G RAN Accelerator Cards and Arm Neoverse™-based CPUs on Red Hat OpenShift in a commercially equivalent environment. By integrating our technologies, we’ve been able to successfully demonstrate sustainable call processing and packet continuity with enhanced power and space savings with the potential to significantly reduce the total cost of ownership for service provider RAN deployments.

Using Kepler and AI to monitor power usage

Model training and inference consume substantial amounts of energy at the level of containers, pods, namespaces. The open source project Kepler, or Kubernetes-based Efficient Power Level Exporter, captures power consumption metrics across a wide range of platforms to help system administrators and developers understand, optimize and plan power usage. The technology, which was co-founded by Red Hat and IBM Research and is used by Red Hat OpenShift for power monitoring, can capture energy consumption by both CPU and graphical processing unit (GPU), thus providing insight into compute utilization patterns of training and inference tasks and evidence for further tuning and optimization.

Kepler helps equip other open source projects and technologies with the data they need to better manage energy. An example is SusQL, an open source project used to track AI model training jobs in distributed environments, which uses Kepler metrics to aggregate power consumption of distributed training jobs, extending the power consumption insight into the cluster level. 

It also enables optimization model inference services, like those on Red Hat OpenShift AI, an MLOps platform for building, training, deploying, and monitoring AI-enabled applications on OpenShift., Together, power consumption can be monitored to derive energy usage patterns. These patterns can be correlated with system configuration and service provisioning to recommend optimal performance per watt configuration. With tools like Kepler integrated into Red Hat’s AI portfolio, we can help AI become more sustainable.

Energy efficient AI analysis at the edge

Red Hat is dedicated to our work within the IOWN Global Forum to help deliver smarter solutions for the future with sustainability in mind. Most recently, Red Hat, NTT, Fujitsu and NVIDIA were able to demonstrate an energy-efficient IOWN-based platform solution with NTT’s accelerated data pipeline for AI analysis services. Through optimizing AI inferencing at the edge for large scale video camera data analysis, we were able to realize a significant reduction in power usage by combining IOWN all-photonics network (APN) and data-centric infrastructure (DCI) with Red Hat OpenShift to deliver large-scale AI data analysis.

This collaboration demonstrates that it is possible to significantly reduce power consumption while maintaining low latency in the use case of video AI analysis at the edge. We found that even when a large number of cameras were connected, the latency required to aggregate and analyze the data with AI can be reduced by 60% as compared to latency with centralized clouds. By implementing container technology with Red Hat OpenShift, NTT is able to flexibly operate AI analysis processing with ease. This also proves that this solution can be widely applicable from video AI analysis in smart cities to similar scenarios with many distributed sensors.

Red Hat, Intel and Ericsson reduce network power consumption

Red Hat is collaborating with Intel and Ericsson to develop, integrate and deploy more sustainable cloud-native technologies that reduce energy costs and carbon emission of networks. There is a balance to strike in optimizing and reducing energy consumption while maintaining network performance. Red Hat, Intel and Ericsson are focusing initially on radio access networks (RANs) and have been able to demonstrate up to 20% savings in processing power consumption using 4th Gen Intel® Xeon® Scalable processors with vRAN boost. The solution has three pillars: hardware, including energy-efficient servers and accelerators; software, such as real-time dynamic scaling of CPU cores for the RAN distributed unit (DU) and centralized unit (CU) workloads; and automation: real-time, energy-aware automation that’s based on network utilization and traffic patterns. Watch this video to learn how Red Hat, Intel, and Ericsson are helping service providers build more sustainable cloud solutions.

Smart scaling for telco datacenters

Red Hat and Intracom Telecom are working to deliver a solution that optimizes OpenShift-based infrastructures (both on-prem and cloud-based), by proactively adjusting server workloads and strategically powering off underutilized servers to address idle power consumption, without compromising workload performance and stability. The number of worker nodes is dynamically scaled, based on real-time predictions of resource demand to ensure optimal infrastructure scalability and efficiency. This solution is well suited for converged telco data centers hosting 5G network functions (e.g. user plane function pods, control-plane pods) and associated services (AI pods, edge pods), as traffic load for these services fluctuates cyclically, following daily and weekly patterns. The smart scaling capability has demonstrated a potential to significantly reduce the average number of worker nodes, even in telco datacenters exhibiting mild load fluctuations within a day, thus delivering important energy and cost savings.

Collaboration can drive sustainable innovation

Red Hat brings to the table its experience in developing open source tools, capabilities and methodologies that make sustainability an integral part of the control and management of cloud-native architectures. We also bring our history of more consistent and open collaboration to galvanize a community of original equipment manufacturers (OEMs), independent software vendors (ISVs), customers and policymakers to promote industry-wide sustainability best practices. Data collection and analytics will be key for our customers to make the best decisions based on measuring the right things. Red Hat continues to look at enhancing observability capabilities in conjunction with AI platforms and massive automation to analyze data at scale and make in-time recommendations on actions to take. Together with our customers and partners, we can enable a holistic, data-driven, energy-saving approach across IT, network, edge, core, and cloud environments. 

ผลกระทบของระบบนิเวศด้านโทรคมนาคม ที่วัดผลได้และมีความหมายต่อความยั่งยืน

ผลกระทบของระบบนิเวศด้านโทรคมนาคม ที่วัดผลได้และมีความหมายต่อความยั่งยืน

ผลกระทบของระบบนิเวศด้านโทรคมนาคม ที่วัดผลได้และมีความหมายต่อความยั่งยืน

ริมมา ไออนเทล, หัวหน้าสถาปนิก, เร้ดแฮท
บทความโดยริมมา ไออนเทล, หัวหน้าสถาปนิก, เร้ดแฮท

โครงข่ายโทรคมนาคมปัจจุบันใช้พลังงานประมาณ 3% ของการใช้พลังงานทั้งโลก และปล่อยก๊าซเรือนกระจกประมาณ 2% ของการปล่อยก๊าซนี้ทั่วโลก แน่นอนว่าผู้ให้บริการโทรคมนาคมทุกแห่งต้องการลดต้นทุนการดำเนินงานด้านโครงข่ายของตนด้วยการประหยัดพลังงานให้มากขึ้น แต่การจะบรรลุเป้าหมายด้านความยั่งยืนได้นั้นเป็นเรื่องซับซ้อน มีความท้าทายทุกขั้นตอน และต้องการการทำงานร่วมกันของผู้ที่อยู่ในระบบนิเวศนี้ทั้งหมด

ผู้ให้บริการจำนวนมากกำลังมองหาแนวทางนำปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาช่วยวิเคราะห์ข้อมูล อย่างไรก็ตาม AI อาจทำได้ดีเท่าข้อมูลที่เราป้อนเข้าไปเท่านั้น การรวบรวมข้อมูลที่แม่นยำมากพอในเรื่องต่าง ๆ เช่น รูปแบบการรับส่งข้อมูลและการใช้พลังงานทั้งบนระบบโครงข่ายแบบดั้งเดิม หรือที่อยู่บนคลาวด์และผู้จัดจำหน่ายหลายราย ยังคงเป็นความท้าทายที่ต้องการการแก้ไข รวมถึงการนำคำแนะนำต่าง ๆ จาก AI ไปปรับโครงข่ายและเวิร์กโฟลว์ที่เกี่ยวข้องให้เหมาะสมแบบเรียลไทม์ ด้วยเครื่องมืออัตโนมัติที่มีอยู่อย่างมากมาย และองค์กรจำเป็นต้องใช้แนวทางแบบองค์รวมร่วมกับโดเมนโครงข่ายทั้งหมดให้มากขึ้น ด้วยการใช้คุณประโยชน์ของโอเพ่นแพลตฟอร์มต่าง ๆ ที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง ใช้ AI และระบบอัตโนมัติ

โครงสร้างพื้นฐานหลัก 5G แบบเปิด (Open 5G) เพื่อเพิ่มมูลค่าและลดการใช้พลังงาน

Red Hat, NEC และ Intel ร่วมมือกันเพื่อให้บริการโครงสร้างพื้นฐานหลัก open 5G ที่ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับต้นทุนด้านพลังงานและการใช้พลังงาน ปัจจุบัน NEC สามารถลดการใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ของฟังก์ชันส่วนข้อมูลผู้ใช้ (User Plane Function: UPF) แบบ converged 5G ของ NEC บน Red Hat OpenShift ได้มากกว่า 30% ด้วย Intel® Infrastructure Power Manager for 5G Core

ประมวลผลการโทรที่ยั่งยืนและความต่อเนื่องของแพ็คเก็ตที่ทรงพลังมากขึ้น

Red Hat, NEC, Arm และ Qualcomm Technologies, Inc. ประสบความสำเร็จในการร่วมมือกันสาธิตการทำงานแบบครบวงจรของโครงข่ายการเข้าถึงคลื่นวิทยุเสมือน (vRAN) แบบเปิด ของ NEC และผลิตภัณฑ์หลัก 5G ที่ใช้ Qualcomm® X100 5G RAN Accelerator Cards and Arm Neoverse™-based CPUs บน Red Hat OpenShift ในสภาพแวดล้อมที่เทียบเท่าการใช้งานเชิงพาณิชย์ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการประมวลผลการโทรที่ยั่งยืนและความต่อเนื่องของแพ็กเก็ต ผ่านการประหยัดพลังงานและพื้นที่ได้มากขึ้น ทั้งยังสามารถลดต้นทุนรวม (TCO) ในการใช้ RAN ของผู้ให้บริการได้อย่างมาก

ใช้ Kepler และ AI ตรวจติดตามการใช้พลังงาน

การเทรนด์ให้กับโมเดลและการอนุมานนั้น ต้องใช้พลังงานจำนวนมากที่ระดับคอนเทนเนอร์ พ็อด และเนมสเปซ Kepler ซึ่งเป็นโอเพ่นซอร์สโปรเจกต์ หรือ Efficient Power Level Exporter ที่ทำงานบน Kubernetes รวบรวมตัวชี้วัดด้านการใช้พลังงานจากทุกแพลตฟอร์ม เพื่อช่วยให้ผู้ดูแลระบบและนักพัฒนาซอฟต์แวร์เข้าใจ ปรับและวางแผนการใช้พลังงานได้อย่างเหมาะสม

นอกจากนี้ Red Hat OpenShift AI ซึ่งเป็นแพลตฟอร์ม MLOps ที่ใช้สร้าง เทรนด์ ปรับใช้ และติดตามการทำงานของแอปพลิเคชัน AI-enabled บน OpenShift ที่สามารถติดตามตรวจสอบการใช้พลังงานร่วมกันเพื่อให้ทราบถึงรูปแบบการใช้พลังงานต่าง ๆ ที่อาจสัมพันธ์กับการกำหนดค่าระบบและการเตรียมบริการเพื่อให้การแนะนำประสิทธิภาพที่เหมาะสมที่สุดต่อการกำหนดค่าวัตต์ ดังนั้นการผสานเครื่องมือต่าง ๆ เช่น Kepler เข้ากับพอร์ตโฟลิโอด้าน AI ของ Red Hat จึงช่วยให้การใช้ AI มีความยั่งยืนมากขึ้น

วิเคราะห์ AI ที่ edge อย่างประหยัดพลังงาน

Red Hat ทุ่มเททำงานให้กับ IOWN Global Forum โดยคำนึงถึงความยั่งยืน เพื่อช่วยมอบโซลูชันที่ชาญฉลาดมากขึ้นในอนาคต โดยล่าสุด Red Hat, NTT, Fujitsu และ NVIDIA ประสบความสำเร็จในการร่วมกันสาธิตแพลตฟอร์มโซลูชัน IOWN-based ที่ประหยัดพลังงานด้วยดาต้าไปป์ไลน์ที่เร่งความเร็วให้กับบริการวิเคราะห์ข้อมูลของ NTT ทั้งนี้การอนุมาน AI เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลกล้องวิดีโอขนาดใหญ่ที่เอดจ์ (edge) ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ช่วยให้เราเข้าใจเรื่องของการลดการใช้พลังงานด้วยการรวม IOWN all-photonics network (APN) และโครงสร้างพื้นฐานที่ใช้ข้อมูลเป็นศูนย์กลาง (data-centric infrastructure: DCI) ไว้ด้วยกันกับ Red Hat OpenShift เพื่อให้บริการการวิเคราะห์ข้อมูล AI ขนาดใหญ่

การทำงานร่วมกันครั้งนี้ เราพบว่าแม้จะมีการเชื่อมต่อกล้องจำนวนมาก ลาเทนซีที่จำเป็นในการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลด้วย AI ลดลงได้ 60% เมื่อเทียบกับลาเทนซีของคลาวด์แบบรวมศูนย์ การใช้เทคโนโลยีคอนเทนเนอร์กับ Red Hat OpenShift ช่วยให้ NTT สามารถประมวลผลการวิเคราะห์ AI ได้อย่างยืดหยุ่นและไม่ยุ่งยาก ทั้งยังพิสูจน์ว่าสามารถนำโซลูชันนี้ไปใช้ในการวิเคราะห์วิดีโอ AI ได้อย่างกว้างขวาง ตั้งแต่เรื่องของเมืองอัจฉริยะ ไปจนถึงสถานการณ์ที่คล้ายคลึงกันต่าง ๆ ที่ได้จากเซ็นเซอร์จำนวนมากที่อยู่ตามสถานที่ต่าง ๆ

Red Hat, Intel และ Ericsson ลดการใช้พลังงานของโครงข่าย

Red Hat, Intel และ Ericsson ให้ความสำคัญเบื้องต้นกับโครงข่ายการเข้าถึงคลื่นวิทยุ (RANs) และสามารถสาธิตให้เห็นว่ามีการประหยัดพลังงานที่ใช้ในการประมวลผลได้ถึง 20% ด้วยการใช้โปรเซสเซอร์ 4th Gen Intel® Xeon® Scalable บวกกับแรงเสริมของ vRAN โซลูชันดังกล่าวนี้มีแกนหลักสามส่วน คือ 1)-ฮาร์ดแวร์ ซึ่งรวมถึงเซิร์ฟเวอร์และตัวเร่งความเร็วที่ประหยัดพลังงาน 2)-ซอฟต์แวร์ เช่นการสเกล CPU cores สำหรับเวิร์กโหลด RAN distributed unit (DU) และ centralized unit (CU) ได้แบบไดนามิกและเรียลไทม์ และ 3)-ระบบอัตโนมัติ เช่น ระบบอัตโนมัติที่ช่วยให้รู้สถานะการใช้พลังงานซึ่งอิงตามการใช้งานโครงข่ายและรูปแบบการรับส่งข้อมูลต่าง ๆ แบบเรียลไทม์

สเกลดาต้าเซ็นเตอร์ด้านโทรคมนาคมอย่างชาญฉลาด

Red Hat และ Intracom Telecom กำลังทำงานร่วมกันเพื่อให้บริการโซลูชันที่ปรับโครงสร้างพื้นฐานที่อยู่บน OpenShift ให้เหมาะสม (ทั้งระบบที่ติดตั้งในองค์กรและบนคลาวด์) ด้วยการปรับเวิร์กโหลดของเซิร์ฟเวอร์ในเชิงรุก และปิดเซิร์ฟเวอร์ที่ไม่ได้ใช้งานอย่างมีกลยุทธ์ เพื่อแก้ปัญหาการใช้พลังงานที่ไม่จำเป็นต้องใช้โดยไม่กระทบต่อประสิทธิภาพและความเสถียรของเวิร์กโหลด โซลูชันนี้เหมาะกับคอนเวิร์จดาต้าเซ็นเตอร์ด้านโทรคมนาคมที่โฮสต์ฟังก์ชันโครงข่าย 5G เป็นอย่างมาก (เช่น พ็อดฟังก์ชันของผู้ใช้, พ็อดควบคุมต่าง ๆ) และบริการที่เกี่ยวข้อง (AI pods, edge pods)

ร่วมมือกันเป็นแรงผลักดันให้เกิดนวัตกรรมที่ยั่งยืน

Red Hat นำประสบการณ์ด้านต่าง ๆ สู่การใช้ประโยชน์ในวงกว้าง เช่นประสบการณ์ด้านการพัฒนาเครื่องมือโอเพ่นซอร์สที่หลากหลาย, ความสามารถและวิธีการต่าง ๆ ที่ทำให้ความยั่งยืนเป็นส่วนประกอบสำคัญในการควบคุมและบริหารจัดการสถาปัตยกรรมคลาวด์-เนทีฟ Red Hat ยังคงมองหาการเพิ่มขีดความสามารถผ่านแพลตฟอร์ม AI และระบบอัตโนมัติขนาดใหญ่ เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลตามขนาดและปริมาณที่ต้องการ ทั้งยังร่วมมือกับลูกค้าและพันธมิตร เพื่อนำเสนอแนวทางประหยัดพลังงานแบบองค์รวมที่ใช้ข้อมูลเป็นตัวขับเคลื่อนให้กับระบบไอที, โครงข่าย, เอดจ์, คอร์, และคลาวด์

SC ASSET X Think of Living จัดกิจกรรม A Place Called Home ครั้งที่ 3 ชวนร่วมประกวดถ่ายภาพบ้าน 4 โครงการใหม่ ในคอนเซ็ปต์ “สวยอยู่ได้” ลุ้นรางวัลกว่า 240,000 บาท

SC ASSET X Think of Living จัดกิจกรรม A Place Called Home ครั้งที่ 3 ชวนร่วมประกวดถ่ายภาพบ้าน 4 โครงการใหม่ ในคอนเซ็ปต์ “สวยอยู่ได้” ลุ้นรางวัลกว่า 240,000 บาท

SC ASSET X Think of Living จัดกิจกรรม A Place Called Home ครั้งที่ 3 ชวนร่วมประกวดถ่ายภาพบ้าน 4 โครงการใหม่ ในคอนเซ็ปต์ “สวยอยู่ได้” ลุ้นรางวัลกว่า 240,000 บาท

Think of Living เว็บไซต์รีวิวโครงการอสังหาริมทรัพย์ชั้นนำของประเทศ ร่วมกับ บริษัท เอสซี แอสเสท คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) หรือ SC ผู้นำอสังหาริมทรัพย์คุณภาพสูง และ มีนวัตกรรม เปิดตัวโครงการประกวดถ่ายภาพ “A Place Called Home ครั้งที่ 3″ ในหัวข้อ “สวย อยู่ ได้” เชิญชวนผู้ที่มีใจรักในการถ่ายภาพร่วมถ่ายทอดมุมมองความสวยงามของการออกแบบและตกแต่งบ้านที่ผสมผสานอยู่ในทุกการอยู่อาศัย เพียงส่งผลงานภาพถ่ายหรือคลิปวิดีโอเพื่อคัดเลือกร่วมเป็นส่วนหนึ่งในกิจกรรมประกวดภาพถ่าย โดยผู้ผ่านการคัดเลือกเพียง 20 ท่านจะได้สิทธิ์ในการร่วมถ่ายภาพสุด Exclusive กับ โครงการใหม่ของ SC ASSET พร้อมลุ้นเงินรางวัลรวมมูลค่ากว่า 240,000 บาท ผู้สนใจสามารถส่งผลงานภาพถ่ายและคลิปวิดีโอได้ตั้งแต่วันนี้10 เมษายนนี้ ผ่านทาง https://thinkofliving.com/events

SC ASSET X Think of Living launch the 3rd A Place Called Home
บรรยายใต้ภาพ (จากซ้ายไปขวา): นายสมยศ วรวุฒิยานนท์ รองหัวหน้าสายงาน ฝ่ายนวัตกรรมสื่อสารการตลาด SC ASSET และ นายวิทยา อภิรักษ์วิริยะ ผู้จัดการทั่วไป Think of Living และ ดีดีพร็อพเพอร์ตี้ (ฝั่งดีเวลลอปเปอร์)

นายสมยศ วรวุฒิยานนท์ รองหัวหน้าสายงาน ฝ่ายนวัตกรรมสื่อสารการตลาด SC Asset กล่าวว่า “นอกเหนือจากการพัฒนาที่อยู่อาศัยคุณภาพ และ มีนวัตกรรมแล้ว  SC ยังให้ความสำคัญกับการสร้างสรรค์ผลงานดีๆ  ผ่านกิจกรรมต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ปีนี้นับเป็นครั้งที่ 3 แล้ว ที่ได้ร่วมกับ Think of Living จัดกิจกรรม A Place Called Home หลังจากปีที่ผ่านมาได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีทั้งจากช่างภาพมืออาชีพและผู้สนใจทั่วไป  โดย SC มีโครงการบ้านซีรีส์ใหม่หลากหลาย Segment พร้อมฟังก์ชั่นที่ตอบโจทย์กับพฤติกรรมผู้บริโภคแต่ละกลุ่ม เราหวังว่าจะช่วยจุดประกายไอเดียสร้างสรรค์ให้กับผู้เข้าร่วมประกวดได้ครีเอทภาพ และ วิดีโอ ถ่ายทอดออกมาได้หลากหลายมุมมอง และ น่าสนใจมากยิ่งขึ้น”

นายวิทยา อภิรักษ์วิริยะ ผู้จัดการทั่วไป Think of Living และ ดีดีพร็อพเพอร์ตี้ (ฝั่งดีเวลลอปเปอร์) กล่าวว่า “การพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยในปัจจุบัน นอกจากจะต้องคำนึงถึงคุณภาพการก่อสร้าง เทคโนโลยีที่เอื้อต่อการอยู่อาศัย รวมถึงสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ภายในโครงการแล้ว การออกแบบที่อยู่อาศัยให้สวยงามน่าอยู่ ถือเป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญที่จะช่วยเพิ่มความสุขให้กับผู้อยู่อาศัยและสร้างสุนทรียภาพในการอยู่อาศัย

Think of Living ในฐานะของเว็บไซต์รีวิวโครงการอสังหาริมทรัพย์ชั้นนำของประเทศ หนึ่งในหน้าที่ของเราคือการถ่ายทอดความสวยงามของการออกแบบโครงการ ความใส่ใจ และความพิถีพิถันให้กับผู้ที่กำลังมองหาที่อยู่อาศัย

โดย SC Asset  ถือเป็นหนึ่งในผู้พัฒนาโครงการอสังหาฯ ชั้นนำ ที่ให้ความสำคัญกับการออกแบบโครงการให้สวยงาม และใส่ใจกับทุกรายละเอียดของการออกแบบไม่ยิ่งหย่อนกว่าปัจจัยอื่น ๆ สะท้อนให้เห็นได้จากทุกโครงการที่อยู่อาศัยของ SC Asset โดยเฉพาะโครงการบ้านเดี่ยว ที่มีการออกแบบอย่างมีเอกลักษณ์และโดดเด่น ตอบโจทย์ทุกไลฟ์สไตล์ที่แตกต่างของผู้บริโภค

ดังนั้น Think of Living จึงได้ร่วมมือกับ SC Asset จัดกิจกรรมประกวดถ่ายภาพและคลิปวิดีโอ “A Place Called Home ครั้งที่ 3” เพื่อเป็นเวทีให้ผู้ที่มีใจรักในการถ่ายภาพและวิดีโอ ได้แสดงความคิดสร้างสรรค์และร่วมถ่ายทอดความสวยงามของที่อยู่อาศัยใน 4 แบรนด์โครงการบ้านเดี่ยวของ SC ASSET ที่ได้รับการออกแบบอย่างใส่ใจและมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว โดยกิจกรรมครั้งที่ผ่านมาได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีทั้งจากช่างภาพมืออาชีพและผู้สนใจทั่วไป  

สำหรับการประกวดในปีนี้จัดขึ้นเป็นครั้งที่ 3 ภายใต้หัวข้อ “สวยอยู่ได้” เพื่อเชิญชวนให้ทุกคนมาร่วมถ่ายทอดมุมมองความสวยงามที่สามารถอยู่อาศัยได้ ซึ่งความพิเศษในปีนี้คือ สามารถเลือกส่งผลงานได้ทั้งภาพถ่ายและคลิปวิดีโอสั้น (Short Video) เพิ่มโอกาสในการสร้างสรรค์ผลงานที่หลากหลายมากขึ้น โดยผู้ที่ผ่านการคัดเลือกเพียง 20 ท่านจะได้รับสิทธิ์ในการร่วมกิจกรรมถ่ายภาพสุด Exclusive กับ 4 โครงการบ้านเดี่ยวของ SC ASSET พร้อมลุ้นรับเงินรางวัลรวมมูลค่ากว่า 240,000 บาท

เราหวังเป็นอย่างยิ่งว่า โครงการนี้จะช่วยจุดประกายความคิดสร้างสรรค์ให้กับผู้ที่ชอบการถ่ายภาพและวิดีโอ รวมทั้งเป็นเวทีที่เปิดโอกาสให้ทุกคนได้แสดงความสามารถและร่วมถ่ายทอดมุมมองความสวยงามที่สามารถอยู่อาศัยได้ เพื่อเป็นแรงบันดาลใจในการซื้อที่อยู่อาศัยและตกแต่งบ้านเพื่อเติมเต็มความสุขในอนาคต” นายวิทยา กล่าวสรุป

โดยผู้ที่ผ่านการคัดเลือก 20 ท่าน จะได้รับสิทธิ์ในการร่วมกิจกรรมถ่ายภาพสุด Exclusive ในโครงการบ้านเดี่ยว 4 โครงการจาก SC ASSET ในวันเสาร์ที่ 27 เมษายน 2567 ประกอบด้วย

  • แกรนด์ บางกอก บูเลอวาร์ด รามอินทรา-เกษตรนวมินทร์ คฤหาสน์หรู 5 ห้องนอน เป็นส่วนตัวเพียง 70 ยูนิต แปลงมุมทุกหลัง ที่ดินใหญ่ 200 ตารางวา ภายใต้บรรยากาศเมือง FLORENCE ประเทศอิตาลี
  • เดอะ เจนทริ เกษตร-นวมินทร์ วิลล่าหรู หลังใหญ่สไตล์ MODERN LUXURY พร้อมพื้นที่นั่งเล่นแบบ Double Volume และลิฟต์ภายในบ้าน ยูนิตน้อยเป็นส่วนตัว เพียง 57 ยูนิต
  • บางกอก บูเลอวาร์ด รามอินทรา 109 บ้านเดี่ยว 5 ห้องนอน 365 ตารางเมตร บ้านหรู ลา-ไน ซีรีส์ บรรยากาศ AUTUMN IN PARIS นครแห่งความโรแมนติก
  • เวนิว ไอดี รามอินทรา-มีนบุรี บ้านเดี่ยวและบ้านแฝดซีรีส์ใหม่สไตล์ MODERN SIMPLICITY

พร้อมส่วนกลางกว่า 2 ไร่ ทำให้การอยู่อาศัยในทุกวันรู้สึกเหมือนอยู่รีสอร์ต บนบรรยากาศ KARUIZAWA เมืองรีสอร์ตของญี่ปุ่น

นอกจากนี้ ผู้ที่ผ่านการคัดเลือก 20 ท่านและร่วมกิจกรรมดังกล่าว จะได้รับค่ากรรมสิทธิ์ภาพ 8,000 บาท พร้อมทั้งมีสิทธิ์ลุ้นรับรางวัล BEST PHOTOGRAPHY, BEST SHORT CLIP VDO และ Popular Vote รวมมูลค่ากว่า 240,000 บาท

พิเศษ! ประชาชนทั่วไปที่ไม่ได้ร่วมประกวด สามารถร่วมสนุกกับโครงการนี้ได้ง่าย ๆ เพียงกด Like และกด Share พร้อมโหวตภาพที่ประทับใจผ่านทาง Facebook: SC ASSET ระหว่างวันที่ 8-31 พฤษภาคม 2567 ก็มีสิทธิ์ลุ้นรับรางวัลพิเศษ บัตร Sizzler มูลค่า 1,000 บาท จำนวน 5 รางวัล (สุ่มรางวัลจากหน้า Facebook เท่านั้น) ผู้สนใจสามารถสมัครเข้าร่วมโครงการหรือติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่้ https://thinkofliving.com/events 

รายละเอียดของโครงการประกวดถ่ายภาพ “A Place Called Home ครั้งที่ 3”

A Place Called Home 2024_Infographic (3)

ผู้สนใจสามารถสมัครเข้าร่วมกิจกรรมได้ตั้งแต่วันนี้-10 เมษายน 2567 เพียงส่งรายละเอียดและรูปถ่ายที่เข้ากับหัวข้อ “สวยอยู่ได้” ผ่านทาง https://thinkofliving.com/events 

  • ผู้สมัคร 1 คนสามารถเลือกได้ 1 ประเภทการแข่งขันเท่านั้น แบ่งเป็นภาพนิ่ง และวิดีโอ โดยไม่จำกัดจำนวนชิ้นงานที่ส่งเข้าร่วมกิจกรรม (ภาพและวิดีโอที่ส่งเข้าประกวดต้องเป็นภาพและวิดีโอที่ผู้สมัครถ่ายด้วยตนเอง)
  • ส่งผลงานถ่ายภาพและวิดีโอโดยการแนบลิงก์ผลงานเพื่อพิจารณาผ่านทาง  https://thinkofliving.com/events
  • หากมีช่องทาง Social Media ที่เผยแพร่ผลงานอยู่แล้ว สามารถแนบลิงก์เพิ่มเติมได้
  • หากได้รับการคัดเลือกแล้ว ต้องสามารถเข้าร่วมกิจกรรมในวันเสาร์ที่ 27 เมษายน 2567 ได้

การคัดเลือก

  • ทาง Think of Living และ SC ASSET จะทำการคัดเลือกผู้สมัครให้เหลือเพียง 20 ท่านเท่านั้น โดยจะประกาศผลผู้มีสิทธิ์เข้าร่วมกิจกรรม 20 ท่าน ผ่านทาง  https://thinkofliving.com/events และ Facebook: Think of Living ในวันที่ 18 เมษายน 2567
  • ผู้ที่ได้รับคัดเลือก 20 ท่าน จะได้ร่วมกิจกรรมถ่ายภาพ 4 โครงการใหม่ของ SC ASSET ในวันเสาร์ที่ 27 เมษายน 2567 โดยทุกท่านจะได้รับค่ากรรมสิทธิ์ภาพ มูลค่า 8,000 บาท 

วันและสถานที่เข้าร่วมกิจกรรมสำหรับผู้ที่ผ่านการคัดเลือก

กิจกรรมถ่ายภาพจัดขึ้นในวันเสาร์ที่ 27 เมษายน 2567 ณ โครงการบ้านเดี่ยว 4 โครงการจาก SC ASSET ได้แก่ 

  • แกรนด์ บางกอก บูเลอวาร์ด รามอินทรา-เกษตรนวมินทร์
  • เดอะ เจนทริ เกษตร-นวมินทร์
  • บางกอก บูเลอวาร์ด รามอินทรา 109
  • เวนิว ไอดี รามอินทรา-มีนบุรี

ของรางวัล 

คณะกรรมการจะทำการคัดเลือกรางวัล BEST PHOTOGRAPHY และ BEST SHORT CLIP VDO และเปิดให้ประชาชนทั่วไปร่วมโหวตรางวัล Popular vote (Photo) และ Popular vote (Short Clip VDO) โดยประกาศผลรางวัลผ่านทาง https://thinkofliving.com/events สำหรับของรางวัลมีรายละเอียดดังนี้

  • BEST PHOTOGRAPHY จำนวน 1 รางวัล มูลค่า 20,000 บาท                          
  • BEST SHORT CLIP VDO จำนวน 1 รางวัล มูลค่า 20,000 บาท            
  • Popular vote (Photo) จำนวน 1 รางวัล มูลค่า 20,000 บาท                                     
  • Popular vote (Short Clip VDO) จำนวน 1 รางวัล มูลค่า 20,000 บาท 

พิเศษ! สำหรับประชาชนทั่วไปที่ไม่ได้ส่งรูปถ่ายและวิดีโอเข้าประกวด สามารถร่วมสนุกกับโครงการนี้ได้ง่าย ๆ เพียงกด Like และกด Share พร้อมโหวตภาพที่ประทับใจผ่านทาง Facebook: SC ASSET ตั้งแต่วันที่ 8-31 พฤษภาคม 2567 ทั้งนี้ ผู้ร่วมโหวตมีสิทธิ์ลุ้นรางวัลพิเศษ บัตร Sizzler มูลค่า 1,000 บาท จำนวน 5 รางวัล (สุ่มรางวัลจากหน้า Facebook เท่านั้น) โดยผลงานที่ได้รับรางวัล Popular Vote จะนับจากภาพและวิดีโอที่มียอด Like & Share มากที่สุด 

หมายเหตุ

  • คณะผู้จัดงานและทีมงานผู้เกี่ยวข้องไม่มีสิทธิ์ได้รับของรางวัลใด ๆ จากโครงการประกวด
  • ผู้ที่ได้รับรางวัลจะต้องเป็นผู้ชำระภาษี ณ ที่จ่าย 5%
  • ของรางวัลไม่สามารถเปลี่ยนมือหรือโอนสิทธิให้ผู้อื่นได้ และไม่สามารถเปลี่ยนเป็นเงินสดได้
  • Think of Living ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงของรางวัล กติกาหรือเงื่อนไขในการประกวดโดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า

#สวยอยู่ได้ #APlaceCalledHome #SCASSETxThinkofLiving #SCxTOL

PropertyGuru Reports Fourth Quarter and Full Year 2023 Results

“พร็อพเพอร์ตี้กูรู” บริษัทแม่ 2 เว็บอสังหาฯ ชื่อดังของไทย เผยผลประกอบการไตรมาส 4 และประจำปี 2566

PropertyGuru Reports Fourth Quarter and Full Year 2023 Results

Revenue of S$150 Million and Adjusted EBITDA of S$19 Million in 2023

  • Total revenue grew 11% to S$150 million in 2023
  • Adjusted EBITDA of S$19 million in 2023, up from S$3 million in 2022
  • Active cost management resulted in a 13% Adjusted EBITDA margin in 2023, up from 2% in 2022
  • The Company anticipates full year 2024 revenue of between S$165 million and S$180 million and Adjusted EBITDA of between S$22 million and S$26 million

PropertyGuru Group Limited (NYSE: PGRU) (“PropertyGuru” or the “Company”), Southeast Asia’s leading[1], property technology (“PropTech”) company, today announced financial results for the quarter ended December 31, 2023. Revenue of S$42 million in the fourth quarter 2023 increased 4% year over year. Net profit was S$1 million in the fourth quarter and Adjusted EBITDA2 was S$9 million. This compares to a net loss of S$5 million and Adjusted EBITDA[2] of S$0.5 million in the fourth quarter of 2022.

Management Commentary

Hari V. Krishnan, Chief Executive Officer and Managing Director, said “Our 2023 results demonstrate our ability to navigate challenging macro-economic conditions and our commitment to profitability. We delivered double-digit revenue growth and a double-digit Adjusted EBITDA margin for the full year. This is a clear testament to our ability to create value for our customers and help property-seekers achieve their home-ownership goals.

Despite less than favorable market conditions in Vietnam and Malaysia, we were able to achieve these results by being laser-focused on optimising costs, adopting internal process automation, improving code quality and productivity. On the technology front, we continue to invest in the transformational use of Generative AI and automation to place us at the forefront of property technology and set us up for consistent improvement in productivity for years to come.

We continue to make proactive changes to build a sustainable, future-proofed business. Following our principle to make focused investments in our identified priorities, we have undertaken a strategic step towards re-architecting our organisation. This will ensure we have set our investment levels commensurate to the opportunity presented, with the right efficiencies to deliver scalable profitable growth for years to come.

We acknowledge that this change is not easy on everyone and extend our heartfelt gratitude to the impacted Gurus for their contributions to the Group and wish them the very best for the next chapter in their careers.

Going forward, while we anticipate ongoing macro challenges, our blueprint for success remains clear – innovate and advance through talent and technology. In 2023, we added key executives to our leadership teams, and at the start of 2024, welcomed Ray Ferguson as PropertyGuru’s new Board Chair. Ray brings a wealth of experience from a long and distinguished career of business building, corporate leadership, and market navigation.

We remain confident about the long-term prospects for economic growth and stability in Southeast Asia and our vision where we power communities to live, work, and thrive in tomorrow’s cities.”

Joe Dische, Chief Financial Officer, added “I am pleased with our results in 2023. We delivered 11% revenue growth and a 13% Adjusted EBITDA margin despite significant macro challenges in two core markets, Vietnam and Malaysia.

As we enter 2024 and get closer to positive inflection points in Vietnam and Malaysia, we are encouraged by how successful our internal cost-control, efficiency, and automation efforts were in 2023. We spent the year balancing product innovation and investment with careful cost management and reaped the benefit of these activities throughout the year, particularly in the fourth quarter when our Adjusted EBITDA margin jumped to 22% from 1% in the prior year quarter.

Net income in the fourth quarter of 2023 was S$1 million, a distinct improvement over a loss of S$5 million in the fourth quarter of 2022, and the second sequential quarter in a row of positive net income.

For the full year 2023, all our marketplaces were Adjusted EBITDA positive. There was significant Adjusted EBITDA margin growth in Singapore, Malaysia, and Other Asia. Notably, corporate expenses as a percentage of overall revenue decreased from 39% in 2022 to 37% in 2023.

Looking to 2024, we will continue to focus on expanding internal operating leverage as we look to improve profitability. We are introducing a full year 2024 revenue outlook of S$165 million to S$180 million and a full year Adjusted EBITDA outlook of S$22 million to S$26 million.”

Financial Highlights – Fourth Quarter and Full Year 2023

  • Total revenue increased to S$42 million (+4%) in the fourth quarter as compared to the previous year and increased to S$150 million (+11%) year over year.
  • Marketplaces revenue increased to S$40 million (+4%) in the fourth quarter as compared to the previous year and increased to S$144 million (+10%) year over year as continued strength in Singapore helped to offset ongoing challenges in Vietnam.
  • Revenue by segment:
  • Singapore Marketplaces revenue increased to S$23 million (+23%) in the fourth quarter as compared to the previous year and increased to S$86 million (+24%) year over year, as the number of agents and the Average Revenue Per Agent (“ARPA”) grew in the quarter and the year. Both fourth quarter ARPA (S$1,312) and full year ARPA (S$4,977) were up 22% compared to prior year periods, and the number of agents in Singapore was up over 100 from the third quarter of 2023 to finish the year at 16,424. The renewal rate was 75% in the quarter and 81% for the full year 2023.
  • Malaysia Marketplaces revenue was flat in the quarter at S$8 million (-0.3%) compared to the prior year quarter and increased to S$28 million (+9%) for the full year. Revenue on a Singapore Dollar basis was adversely impacted by depreciation of the Malaysian Ringgit. On a local currency basis, revenue in the fourth quarter was up 5% and revenue in 2023 was up 16%.
  • Vietnam Marketplaces revenue decreased to S$5 million (-22%) in the fourth quarter as compared to the prior year period and decreased to S$17 million (-29%) year over year, as a reduction in the number of listings was partially offset by an increase in the average revenue per listing (“ARPL”). The number of listings was 1.2 million in the fourth quarter down 26% from the fourth quarter of 2022. ARPL was up 3% to S$3.34 in the fourth quarter and was up 14% to S$3.39 for the full year.
  • Fintech & Data services revenue decreased to S$2 million (-10%) in the fourth quarter as compared to the prior year period and increased to S$6 million (+20%) year over year.
  • At quarter-end, cash and cash equivalents were S$306 million.

Information regarding our operating segments is presented below. It is noted that in 2023 the Company no longer removed the ongoing cost of being a listed entity when calculating Adjusted EBITDA. As such, the 2022 comparatives have been retrospectively adjusted accordingly.

  

For the Three Months Ended December 31,

 

  

2023

 

 

2022

 

 

YoY Growth

 

  

(S$ in thousands except percentages)

 

  

 

 

 

 

 

 

 

 

Revenue

 

 

41,506

 

 

 

40,097

 

 

 

3.5

%

Marketplaces

  

39,939

   

38,350

   

4.1

%

Singapore

  

23,094

   

18,805

   

22.8

%

Vietnam

  

4,587

   

5,870

   

-21.9

%

Malaysia

  

7,505

   

7,531

   

-0.3

%

Other Asia

  

4,753

   

6,144

   

-22.6

%

Fintech and data services

  

1,567

   

1,747

   

-10.3

%

Adjusted EBITDA

 

 

8,928

 

 

 

503

 

 

  

Marketplaces

  

24,039

   

18,240

    

Singapore

  

17,401

   

11,441

    

Vietnam

  

590

   

722

    

Malaysia

  

3,608

   

3,429

    

Other Asia

  

2,440

   

2,648

    

Fintech and data services

  

(2,262

)

  

(1,940

)

   

Corporate*

  

(12,849

)

  

(15,797

)

   

Adjusted EBITDA Margin (%)

 

 

21.5

%

 

 

1.3

%

 

  

Marketplaces

  

60.2

%

  

47.6

%

   

Singapore

  

75.3

%

  

60.8

%

   

Vietnam

  

12.9

%

  

12.3

%

   

Malaysia

  

48.1

%

  

45.5

%

   

Other Asia

  

51.3

%

  

43.1

%

   

Fintech and data services

  

-144.4

%

  

-111.0

%

   
  

For the Twelve Months Ended December 31,

 

  

2023

 

 

2022

 

 

YoY Growth

 

  

(S$ in thousands except percentages)

 

  

 

 

 

 

 

 

 

 

Revenue

 

 

150,135

 

 

 

135,925

 

 

 

10.5

%

Marketplaces

  

144,068

   

130,861

   

10.1

%

Singapore

  

85,988

   

69,241

   

24.2

%

Vietnam

  

17,130

   

24,040

   

-28.7

%

Malaysia

  

27,740

   

25,388

   

9.3

%

Other Asia

  

13,210

   

12,192

   

8.3

%

Fintech and data services

  

6,067

   

5,064

   

19.8

%

Adjusted EBITDA

 

 

18,912

 

 

 

3,325

 

 

  

Marketplaces

  

83,843

   

63,045

    

Singapore

  

65,300

   

47,626

    

Vietnam

  

778

   

5,470

    

Malaysia

  

14,803

   

10,208

    

Other Asia

  

2,962

   

(259

)

   

Fintech and data services

  

(9,299

)

  

(7,344

)

   

Corporate*

  

(55,632

)

  

(52,376

)

   

Adjusted EBITDA Margin (%)

 

 

12.6

%

 

 

2.4

%

 

  

Marketplaces

  

58.2

%

  

48.2

%

   

Singapore

  

75.9

%

  

68.8

%

   

Vietnam

  

4.5

%

  

22.8

%

   

Malaysia

  

53.4

%

  

40.2

%

   

Other Asia

  

22.4

%

  

-2.1

%

   

Fintech and data services

  

-153.3

%

  

-145.0

%

   

Strong Category Leadership Drives Long-Term Growth Opportunities

As of December 31, 2023, PropertyGuru continued its Engagement Market Share[3] leadership in Singapore, Vietnam, Malaysia, and Thailand.

  • Singapore: 82% – 5.7x the closest peer
  • Malaysia: 92% – 12.0x the closest peer
  • Vietnam: 80% – 4.1x the closest peer
  • Thailand: 54% – 1.9x the closest peer

Full Year 2024 Outlook

The Company anticipates full year 2024 revenues of between S$165 million and S$180 million and Adjusted EBITDA of between S$22 million and S$26 million.

The following near-term factors may impact the Company’s operations in 2024: further delays in the recovery of Vietnam’s property market due to consumer sentiment and access to credit; weaker than expected economic conditions in Malaysia; and additional fiscal policy measures that the Singaporean government may implement. Longer-term, the Company remains bullish on its growth trajectory, prospects for improving profitability, and the fundamental opportunity that exists in our core markets.

“พร็อพเพอร์ตี้กูรู” บริษัทแม่ 2 เว็บอสังหาฯ ชื่อดังของไทย เผยผลประกอบการไตรมาส 4 และประจำปี 2566

“พร็อพเพอร์ตี้กูรู” บริษัทแม่ 2 เว็บอสังหาฯ ชื่อดังของไทย เผยผลประกอบการไตรมาส 4 และประจำปี 2566

“พร็อพเพอร์ตี้กูรู” บริษัทแม่ 2 เว็บอสังหาฯ ชื่อดังของไทย เผยผลประกอบการไตรมาส 4 และประจำปี 2566

รายได้แตะ 150 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ และกำไรส่วนที่เป็นเงินสดพุ่ง 19 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ในปีที่ผ่านมา 

  • รายได้ทั้งหมดโตขึ้น 11% มาอยู่ที่ 150 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ (ราว 4 พันล้านบาท เมื่อเทียบอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 1 มีนาคม 2567) ในปี 2566 
  • กำไรส่วนที่เป็นเงินสด (Adjusted EBITDA) เพิ่มจาก 3 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ (ราว 80 ล้านบาท) ในปี 2565 มาอยู่ที่ 19 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ในปี 2566 (ราว 507 ล้านบาท)
  • การบริหารต้นทุนการจัดการตั้งแต่เริ่มต้น (Active cost management) ส่งผลให้อัตรากำไรขั้นต้นที่ได้ (Adjusted EBITDA margin) เพิ่มขึ้นจาก 2% ในปี 2565 เป็น 13% ในปี 2566 
  • บริษัทฯ คาดว่าผลประกอบการทั้งปี 2567 จะอยู่ระหว่าง 165-180 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ (ราว 4-4.8 พันล้านบาท) ส่วนกำไรที่เป็นเงินสด (Adjusted EBITDA) คาดว่าจะอยู่ที่ระหว่าง 22-26 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ (ราว 587-694 ล้านบาท)

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้กูรู กรุ๊ป จำกัด (ชื่อในตลาดหลักทรัพย์นิวยอร์ก NYSE: PGRU) (จากนี้จะเรียกแทนว่า “พร็อพเพอร์ตี้กูรู” หรือ “บริษัท”) บริษัทเทคโนโลยีด้านอสังหาริมทรัพย์ชั้นนำของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้[1], (“PropTech”) และเป็นบริษัทแม่ของ 2 แพลตฟอร์มอสังหาริมทรัพย์ชั้นนำของเมืองไทย ประกอบด้วย ดีดีพร็อพเพอร์ตี้ (DDproperty) เว็บไซต์มาร์เก็ตเพลสด้านอสังหาริมทรัพย์อันดับหนึ่งของไทย และ thinkofliving.com เว็บไซต์รีวิวโครงการอสังหาฯ ชั้นนำของไทย เมื่อเร็ว ๆ นี้ ได้แถลงผลประกอบการประจำไตรมาสที่ 4 ซึ่งสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2566 โดยรายได้ในช่วงไตรมาสที่ 4 ปี 2566 อยู่ที่ 42 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ (ราว 1.1 พันล้านบาท) เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันในปีก่อนหน้าราว 4% ในขณะที่กำไรสุทธิในไตรมาสที่ 4 อยู่ที่ 1 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ (ราว 27 ล้านบาท) และกำไรส่วนที่เป็นเงินสด[2] (Adjusted EBITDA หรือกำไรจากการดำเนินงานของบริษัทก่อนหักดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจำหน่าย) อยู่ที่ 9 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ (ราว 240 ล้านบาท) ตัวเลขดังกล่าวเทียบกับการขาดทุนสุทธิของไตรมาสเดียวกันในปี 2565 ซึ่งอยู่ที่ 5 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ (ราว 133 ล้านบาท) และ Adjusted EBITDA ซึ่งอยู่ที่ 0.5 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ (ราว 13 ล้านบาท) 

ความเห็นจากผู้บริหาร  

นายแฮร์รี่ วี. คริชนัน ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ กล่าวว่า “ผลประกอบการประจำปี 2566 ของเราแสดงให้เห็นถึงศักยภาพของเราในการเผชิญกับความท้าทายต่าง ๆ ท่ามกลางสถานการณ์เศรษฐกิจมหภาคที่ผันผวน และความมุ่งมั่นของเราที่ต้องการสร้างกำไรให้เกิดขึ้นกับธุรกิจที่เราทำ เราสามารถสร้างรายได้ของทั้งปีให้เติบโตในระดับตัวเลข 2 หลักได้ เช่นเดียวกับอัตรากำไร Adjusted EBITDA ตัวเลขเหล่านี้นับเป็นผลงานที่แสดงถึงความสามารถของเราอย่างชัดเจนในการสร้างมูลค่าให้กับลูกค้าของเรา และช่วยให้ผู้ที่กำลังหาบ้านสามารถบรรลุเป้าหมายในการมีบ้านเป็นของตัวเองได้ในที่สุด 

แม้ว่าสภาพตลาดในเวียดนามและมาเลเซียจะอยู่ในสถานะที่ไม่ค่อยดีนักในปีที่ผ่านมา แต่เรายังสามารถสร้างผลประกอบการได้ขนาดนี้ นั่นเพราะการลงทุนแบบมุ่งเน้นไปที่การปรับค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ให้เหมาะสม, มีการปรับกระบวนการทำงานภายในให้เป็นแบบอัตโนมัติมากขึ้น, พัฒนากระบวนการดูแลรักษาคุณภาพ (Code Quality) และการสร้างผลิตภาพ (Productivity) ในฝั่งของเทคโนโลยี เรายังคงเดินหน้าลงทุนในการนำ Generative AI และระบบอัตโนมัติมาใช้ เพื่อให้เราเป็นบริษัทเทคโนโลยีด้านอสังหาฯ ชั้นแนวหน้า และทำให้เราสามารถพัฒนาผลิตภาพ (Productivity) ได้อย่างต่อเนื่องในอนาคตต่อจากนี้  

เรายังคงสร้างการเปลี่ยนแปลงแบบเชิงรุกเพื่อสร้างความยั่งยืน และอนาคตที่มีหลักประกันให้กับธุรกิจของเรา ตามหลักการที่เราถือปฏิบัติในการลงทุนแบบโฟกัสในตลาดที่เราดำเนินธุรกิจอยู่ เราได้เดินหน้าเชิงกลยุทธ์ด้วยการปรับองค์กร ซึ่งจะทำให้เรามั่นใจว่าการลงทุนของเรามีสัดส่วนที่เหมาะสมกับโอกาสที่มีอยู่ ด้วยประสิทธิภาพที่เหมาะสมในการที่จะสร้างการเติบโตแบบมีผลกำไรที่สามารถเพิ่มขึ้นได้ในอนาคตต่อจากนี้  

เราตระหนักดีว่า การเปลี่ยนแปลงนี้ไม่ใช่เรื่องง่ายสำหรับพวกเราทุกคน และผมขอเป็นตัวแทนของบริษัทฯ ในการแสดงความขอบคุณอย่างสุดซึ้งต่อความทุ่มเทที่ผ่านมาของชาวกูรูทุกท่านที่ได้รับผลกระทบจากการปรับโครงสร้างองค์กรครั้งล่าสุด และขออวยพรให้พนักงานทุกคนประสบความสำเร็จในก้าวต่อไปของชีวิตการทำงาน 

ต่อจากนี้ ในขณะที่เราคาดการณ์ว่าความท้าทายของเศรษฐกิจในระดับมหภาคยังคงดำเนินต่อไป แต่แผนการสู่ความสำเร็จของเรายังคงมีความชัดเจน สร้างสรรค์ และล้ำสมัยด้วยทีมผู้บริหารและพนักงานที่เต็มไปด้วยความสามารถ และการนำเทคโนโลยีมาช่วยสนับสนุนอย่างเหมาะสม ในปี 2566 ที่ผ่านมา เราได้ผู้บริหารท่านใหม่เข้ามาร่วมทีม และนับตั้งแต่ต้นปี 2567 เราได้ต้อนรับคุณเรย์ เฟอร์กูสัน มาสู่ทีมคณะกรรมการบริหารในฐานะประธานกรรมการบริหารคนใหม่ของพร็อพเพอร์ตี้กูรู คุณเรย์มาพร้อมกับประสบการณ์ที่พรั่งพร้อมและยาวนานในการสร้างธุรกิจที่มีชื่อเสียง, การนำทีมผู้นำขององค์กร และการเจาะตลาดต่าง ๆ ที่มีศักยภาพ   

เรายังคงมีความมั่นใจในโอกาสการเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะยาวอย่างยั่งยืนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และแน่นอนว่าวิสัยทัศน์ของเราจะยังคงมุ่งขับเคลื่อนชุมชนต่าง ๆ เพื่อการอยู่อาศัย การทำงาน และพัฒนาสู่ความเป็นเมืองแห่งอนาคตต่อไป”

ด้านนายโจ ดิช ประธานเจ้าหน้าที่บริหารด้านการเงิน กล่าวเพิ่มเติมว่า “ผมรู้สึกพอใจกับผลประกอบการของปี 2566 เป็นอย่างยิ่ง เราสามารถทำรายได้ที่โตกว่าปีก่อนหน้าถึง 11% และในส่วนของอัตรากำไร Adjusted EBITDA ก็เพิ่มขึ้นถึง 13% จากปีก่อนหน้า ทั้ง ๆ ที่ต้องเผชิญกับความท้าทายที่ค่อนข้างใหญ่ใน 2 ตลาดหลักของเรา นั่นคือเวียดนาม และมาเลเซีย 

ในขณะที่เรากำลังเข้าสู่ปี 2567 และกำลังเข้าใกล้จุดเปลี่ยนเชิงบวกที่สำคัญทั้งในเวียดนามและมาเลเซีย เราก็พบว่าสิ่งที่เราพยายามทำภายในองค์กรอย่างต่อเนื่อง อาทิ การควบคุมค่าใช้จ่าย การบริหารต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ และความพยายามในการสร้างขั้นตอนการทำงานให้เป็นแบบอัตโนมัติมากขึ้น ประสบความสำเร็จเป็นอย่างดีในปี 2566 เราใช้เวลาในปีที่ผ่านมาในการสร้างความสมดุลระหว่างการคิดค้นโปรดักส์ใหม่ ๆ และลงทุนอย่างระมัดระวังด้วยการจัดการบริหารต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ และเก็บเกี่ยวผลประโยชน์จากกิจกรรมต่าง ๆ เหล่านี้ตลอดทั้งปี โดยเฉพาะในไตรมาสที่ 4 เมื่ออัตรากำไร Adjusted EBITDA ของเราโตขึ้นแบบก้าวกระโดดจาก 1% ในช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้ามาอยู่ที่ 22% ในไตรมาส 4 ของปี 2566

กำไรสุทธิในไตรมาส 4 ของปี 2566 อยู่ที่ 1 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ (ราว 27 ล้านบาท) นับเป็นการเติบโตที่โดดเด่นจากการขาดทุนมูลค่า 5 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ (ราว 133 ล้านบาท) เมื่อไตรมาส 4 ของปี 2565 และยังถือเป็นไตรมาสที่ 2 ติดต่อกันในปี 2566 ที่มีรายได้สุทธิเป็นบวก 

สำหรับผลประกอบการทั้งปี 2566 ในหน่วยธุรกิจมาร์เก็ตเพลสมีผลกำไร Adjusted EBITDA ที่เป็นบวก โดยในสิงคโปร์ มาเลเซีย และตลาดเอเชียอื่น ๆ ที่มีการเติบโตของอัตราผลกำไร Adjusted EBITDA ที่โดดเด่น เป็นที่น่าสังเกตว่าค่าใช้จ่ายในองค์กรเมื่อคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ของรายได้ทั้งหมด ลดลงจาก 39% ในปี 2565 ลดลงมาอยู่ที่ 37% ในปี 2566 

สำหรับปี 2567 เราจะยังคงเดินหน้าโฟกัสการพัฒนาขั้นตอนการดำเนินงานในส่วนต่าง ๆ ภายในองค์กรเพื่อให้มีผลิตผลและผลกำไรเพิ่มมากขึ้น โดยเราคาดว่ารายได้ทั้งปีของปี 2567 น่าจะอยู่ที่ราว 165-180 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ (ราว 4.4-4.8 พันล้านบาท) ในขณะที่ Adjusted EBITDA ของทั้งปีคาดว่าจะอยู่ที่ราว 22-26 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ (ราว 587-694 ล้านบาท)”

ไฮไลต์ผลประกอบการไตรมาส 4 และประจำปี 2566 

  • รายได้โดยรวมเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 42 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ (+4%) ในไตรมาส 4 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า และทั้งปีเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 150 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ (+11%) เมื่อเทียบกับปี 2565 
  • รายได้ของหน่วยธุรกิจมาร์เก็ตเพลสเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 40 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ (+4%) ในไตรมาส 4 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า และเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 144 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ (+10%) เมื่อเทียบกับปี 2565 จากความแข็งแกร่งของผลประกอบการของตลาดสิงคโปร์ที่ช่วยทดแทนความท้าทายที่เรากำลังเผชิญอยู่ในตลาดเวียดนาม
  • รายได้ตามเซ็กเมนต์:
  • รายได้จากหน่วยธุรกิจมาร์เก็ตเพลสในสิงคโปร์เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 23 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ (+23%) ในไตรมาสที่ 4 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันกับปีก่อนหน้า และเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 86 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ (+24%) ในปี 2566 เมื่อเทียบกับปี 2565 จากจำนวนเอเจนต์และรายได้เฉลี่ยต่อเอเจนต์ (“ARPA”) ที่เติบโตขึ้นในไตรมาส 4 และทั้งปี 2566 โดยในช่วงไตรมาส 4 ARPA ของสิงคโปร์อยู่ที่ 1,312 ดอลลาร์สิงคโปร์ และทั้งปีอยู่ที่ 4,977 ดอลลาร์สิงคโปร์ ซึ่งโตขึ้นราว 22% เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า ในขณะที่จำนวนเอเจนต์ในสิงคโปร์เพิ่มขึ้น 100 คนจากไตรมาส 3 ของปี 2566 ทำให้จำนวนเอเจนต์ของสิงคโปร์ทั้งปีอยู่ที่ 16,424 ราย อัตราการต่ออายุแพ็คเกจอยู่ที่ 75% ในไตรมาส 4 และอัตราของทั้งปี 2566 เฉลี่ยอยู่ที่ 81% 
  • รายได้จากหน่วยธุรกิจมาร์เก็ตเพลสในมาเลเซียค่อนข้างทรงตัวในไตรมาส 4 โดยอยู่ที่ 8 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ (-3%) เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันในปีก่อนหน้า และเพิ่มขึ้นจากปี 2565 (+9%) มาอยู่ที่ 28 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ในปี 2566 รายได้ที่ใช้สกุลเงินดอลลาร์สิงคโปร์เป็นเบสค่อนข้างได้รับผลกระทบจากค่าเงินริงกิตมาเลเซียที่อ่อนตัวลง ถ้าดูจากสกุลเงินท้องถิ่น รายได้ในไตรมาส 4 เพิ่มขึ้นราว 5% และรายได้ของทั้งปีเพิ่มขึ้น 16% 
  • รายได้จากหน่วยธุรกิจมาร์เก็ตเพลสในเวียดนามลดลงมาอยู่ที่ 5 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ (-22%) ในช่วงไตรมาสที่ 4 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า และลดลง 17 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ (-29%) เมื่อเทียบระหว่างปี 2566 และปี 2565 เนื่องจากจำนวนของประกาศที่ลดลง อย่างไรก็ดี ยังมีรายได้บางส่วนที่ถูกทดแทนด้วยรายได้เฉลี่ยต่อประกาศ (“ARPL”) ที่เพิ่มขึ้น จำนวนประกาศในไตรมาส 4 อยู่ที่ 2 ล้านรายการ ลดลง 26% จากไตรมาส 4 ของปี 2565 ในขณะที่ ARPL เพิ่มขึ้น 3% มาอยู่ที่ 3.34 ดอลลาร์สิงคโปร์ในไตรมาสที่ 4 และเพิ่มขึ้น 14% มาอยู่ที่ 3.39 ดอลลาร์สิงคโปร์สำหรับทั้งปี 2566 
  • รายได้จากหน่วยธุรกิจฟินเทค แอนด์ ดาต้า เซอร์วิสเซส ลดลงมาอยู่ที่ 2 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ (-10%) ในไตรมาส 4 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า และรายได้ทั้งปีเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 6 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ (+20%) เมื่อเทียบกับปี 2565 
  • ณ สิ้นไตรมาส เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด อยู่ที่ 306 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ (ราว 2 พันล้านบาท)

Information regarding our operating segments is presented below. It is noted that in 2023 the Company no longer removed the ongoing cost of being a listed entity when calculating Adjusted EBITDA. As such, the 2022 comparatives have been retrospectively adjusted accordingly.

  

For the Three Months Ended December 31,

 
  

2023

  

2022

  

YoY Growth

 
  

(S$ in thousands except percentages)

 
          

Revenue

  

41,506

   

40,097

   

3.5

%

Marketplaces

  

39,939

   

38,350

   

4.1

%

Singapore

  

23,094

   

18,805

   

22.8

%

Vietnam

  

4,587

   

5,870

   

-21.9

%

Malaysia

  

7,505

   

7,531

   

-0.3

%

Other Asia

  

4,753

   

6,144

   

-22.6

%

Fintech and data services

  

1,567

   

1,747

   

-10.3

%

Adjusted EBITDA

  

8,928

   

503

    

Marketplaces

  

24,039

   

18,240

    

Singapore

  

17,401

   

11,441

    

Vietnam

  

590

   

722

    

Malaysia

  

3,608

   

3,429

    

Other Asia

  

2,440

   

2,648

    

Fintech and data services

  

(2,262

)

  

(1,940

)

   

Corporate*

  

(12,849

)

  

(15,797

)

   

Adjusted EBITDA Margin (%)

  

21.5

%

  

1.3

%

   

Marketplaces

  

60.2

%

  

47.6

%

   

Singapore

  

75.3

%

  

60.8

%

   

Vietnam

  

12.9

%

  

12.3

%

   

Malaysia

  

48.1

%

  

45.5

%

   

Other Asia

  

51.3

%

  

43.1

%

   

Fintech and data services

  

-144.4

%

  

-111.0

%

   
  

For the Twelve Months Ended December 31,

 
  

2023

  

2022

  

YoY Growth

 
  

(S$ in thousands except percentages)

 
          

Revenue

  

150,135

   

135,925

   

10.5

%

Marketplaces

  

144,068

   

130,861

   

10.1

%

Singapore

  

85,988

   

69,241

   

24.2

%

Vietnam

  

17,130

   

24,040

   

-28.7

%

Malaysia

  

27,740

   

25,388

   

9.3

%

Other Asia

  

13,210

   

12,192

   

8.3

%

Fintech and data services

  

6,067

   

5,064

   

19.8

%

Adjusted EBITDA

  

18,912

   

3,325

    

Marketplaces

  

83,843

   

63,045

    

Singapore

  

65,300

   

47,626

    

Vietnam

  

778

   

5,470

    

Malaysia

  

14,803

   

10,208

    

Other Asia

  

2,962

   

(259

)

   

Fintech and data services

  

(9,299

)

  

(7,344

)

   

Corporate*

  

(55,632

)

  

(52,376

)

   

Adjusted EBITDA Margin (%)

  

12.6

%

  

2.4

%

   

Marketplaces

  

58.2

%

  

48.2

%

   

Singapore

  

75.9

%

  

68.8

%

   

Vietnam

  

4.5

%

  

22.8

%

   

Malaysia

  

53.4

%

  

40.2

%

   

Other Asia

  

22.4

%

  

-2.1

%

   

Fintech and data services

  

-153.3

%

  

-145.0

%

   

ความเป็นผู้นำตลาดที่แข็งแกร่งเป็นตัวขับเคลื่อนโอกาสในการเติบโตระยะยาว  

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2566 พร็อพเพอร์ตี้กูรูยังคงครองความเป็นผู้นำตลาดด้วยส่วนแบ่งการตลาดอันดับ 1 ในตลาดหลักที่ดำเนินธุรกิจ ได้แก่ สิงคโปร์, เวียดนาม, มาเลเซีย และไทย  

  • สิงคโปร์: 82% – นำหน้าแบรนด์อันดับสอง 5.7 เท่า
  • มาเลเซีย: 92% – นำหน้าแบรนด์อันดับสอง 12.0 เท่า
  • เวียดนาม: 80% – นำหน้าแบรนด์อันดับสอง 4.1 เท่า
  • ไทย: 54% – นำหน้าแบรนด์อันดับสอง 1.9 เท่า

ภาพรวมของปี 2567

บริษัทได้คาดการณ์รายได้ของทั้งปี 2567 ไว้อยู่ที่ระหว่าง 165-180 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ (ราว 4.4-4.8 พันล้านบาท) ในขณะที่กำไรที่เป็น Adjusted EBITDA จะอยู่ที่ระหว่าง 22-26 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ (ราว 587-694 ล้านบาท)

ปัจจัยระยะใกล้ที่อาจจะส่งผลต่อการดำเนินการของบริษัทในปี 2567 ได้แก่ การฟื้นตัวของตลาดอสังหาฯ เวียดนามที่ชะลอตัวออกไป เนื่องจากความเชื่อมั่นของผู้บริโภคที่ยังคงไม่ค่อยดี และการเข้าถึงสินเชื่อ นอกจากนี้ ยังมีปัจจัยที่เกี่ยวกับสภาพเศรษฐกิจในมาเลเซียที่อ่อนแอกว่าที่คาดการณ์ไว้ก่อนหน้านี้ อีกทั้งยังมีนโยบายการคลังเพิ่มเติมและมาตรการต่าง ๆ ที่รัฐบาลสิงคโปร์อาจจะออกมาในเร็ว ๆ นี้  ในระยะยาว บริษัทยังคงมั่นใจกับวิถีการเติบโตของบริษัท มองเห็นโอกาสในการพัฒนาเพื่อเพิ่มความสามารถในการทำกำไร และโอกาสพื้นฐานที่ปรากฎอยู่ในตลาดหลักที่เราดำเนินธุรกิจอยู่